วันอาทิตย์ที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

อุปกรณ์ รีแอ๊คเตอร์ หลายขนาด

ผ่านไป2552-2553
จนปีนี้ 2554 ก็ได้ "เลิกเปิดตัว" ต้องรอก่อน 
การใช้H2Oแบบไอระเหย คือการนำความร้อนจากไอเสียเครื่องยนต์
กลับมาใช้เป็นพลังงาน "แทนที่จะปล่อยความร้อนออกไปเฉิยๆ
แล้วยังก่อให้เกิดปัญหาส่งแวดล้อมเป็นพิษ เกิดสภาวะโลกร้อน"
จากการทดลอง ด้วยการนำท่อทองแดง
ที่มีความสามารถทนความร้อนและนำความร้อนได้ดี
มาขดในท่อไอเสียติดกับตัวเครื่องยนต์ และนำน้ำจืด
ธรรมดาปล่อยเข้าไปในท่อ เพื่อให้ความร้อนเผาน้ำให้กลายเป็นไอน้ำแห้งนั้น
ปัจจุบันมีให้เลือกหลายรูปแบบที่จะนำไปใช้
อุปกรณ์เหล่านี้มีหน้าที่เผาน้ำปล่าว(H2O)ให้ให้เดือดเป็นไอน้ำ(H2O)
จากนั้นส่งเข้าไปให้ความร้อนประมาณ200-400องศาC
ในท่อไอเสียเครื่องยนต์ แล้วนำไอน้ำแห้ง นี้ไปใช้ร่วมในขบวนการเผาไหม้
เข้าทางท่อไอดีของเครื่องยนต์ ขบวนการและวิธีการนี้ทำให้ประหยัดน้ำมัน
ได้ 10% ถึง 40% 
การดูแลรักษาก็ง่าย  
ในช่วงที่พลังงานราคาสูงขึ้นเรื่อยๆ   
สนใจรายละเอียดการติดตั้ง
ทำงานตามรอบเครื่องยนต์    ไม่ต้องยุ่งระบบไฟฟ้าในรถยนต์
ปลอกภัย ไร้กังวน ไม่กวนใจ   ติดตั้งแล้ว เติมน้ำอย่างเดียว

ผลงานวิจัย แผนกช่างยนต์ วิทยาลัยสารพัดช่าง จบ.
ทุ่มเท ทดสอบยาวนานกว่า 4 ปี จนเป็นที่ ประจักษ์
*เริ่มต้นจากสตาร์ทเครื่องยนต์เมื่อเครื่องติดจะเกิดแรงดันในท่อไอเสีย
ส่งออกมาพร้อมกับไอร้อน ทำให้น้ำเดือดกลายเป็นไอน้ำ
ส่งออกไปเข้า Intake ตัวยู ที่ฝังอยู่ในท่อไอเสียซึ่งมีความร้อนสูงมาก
ทำให้ไอน้ำโดนความร้อนสูงซึ่งมีความแห้งมากขึ้น
แล้วถูกส่งไปเข้าท่อไอดีดูดเข้าไปช่วยในการเผาไหม้

-ใช้กับเครื่องยนต์ทุกชนิด
-ช่วยเพิ่มกำลังเครื่องยนต์
-ลดเขม่าควันได้ 40-80%
-ช่วยประหยัดน้ำมันได้ 20-40%
-ช่วยลดมวลพิษในอากาศ

วันเสาร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

ประวัติการวิจัยตั้งแต่ ปี 2551

ผลิตไฮโดรเจนจากพลังงานความร้อนท่อไอเสียเครื่องยนต์


การใช้ไฮโดรเจนเป็นเชื้อเพลิงในการขนส่งจะช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก  เมื่อมีการเผาไหม้เชื้อเพลิงไฮโดรเจน  จะมีเพียงน้ำและออกซิเจนออกมาเท่านั้นปัจจุบันเครื่องยนต์สันดาปภายในที่ใช้เชื้อเพลิงไฮโดรเจน มีประสิทธิภาพเทียบเท่ากับเครื่องยนต์ที่ใช้น้ำมันเบนซินหรือดีเซล แต่มีต้นทุนที่สูงกว่า คาดกันว่า ยานที่ใช้เซลล์เชื้อเพลิงจะมีความสมบูรณ์ภายในสิบปีนี้    ซึ่งจะทำให้เกิดผลดีต่อสิ่งแวดล้อม มีประสิทธิภาพในการเปลี่ยนไฮโดรเจนเป็นไฟฟ้า และมีการผลิตมอเตอร์ไฟฟ้าที่ก้าวหน้ามากขึ้น ยานที่ใช้พลังงานไฮโดรเจนจะช่วยด้านความมั่นคงทางพลังงาน โดยลดการนำเข้าน้ำมันจากแหล่งที่ไม่มีเสถียรภาพ สองในสามของเทคโนโลยีการผลิตไฮโดรเจน ไม่ทำให้เกิดก๊าซเรือนกระจก การแยกโมเลกุลของน้ำออกเป็นไฮโดรเจนกับออกซิเจน (thermochemical) ที่อุณหภูมิ 700-900 องศาเซลเซียส 

ที่ใช้ในเครื่องยนต์เป็นการนำเอาพลังงานความร้อนที่เหลือใช้กลับมาใช้อีก การใช้พลังงานความร้อนจากท่อไอเสียกลับมาผลิตไอน้ำแห้งเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงร่วม
ผู้เชี่ยวชาญได้คำนวณออกมาว่า ในการผลิตไฮโดรเจนโดยวิธีแยกด้วยไฟฟ้า (electrolysis) ให้เพียงพอสำหรับใช้ในยานพาหนะในการขนส่งทั้งหมดของสหรัฐอเมริกา ต้องเพิ่มกำลังการผลิตไฟฟ้าอีก 240 gigawatts หรือครึ่งหนึ่งของการผลิตไฟฟ้าในสหรัฐปัจจุบัน ซึ่งการผลิตไฟฟ้าระดับนี้ ต้องใช้กังหันลม 640,000 หน่วย บนพื้นที่ 71,000 ตารางไมล์ หรือใช้เชื้อเพลิงชีวมวล (biomass) 4 เท่าของการเพาะปลูกทั้งหมดของเกษตรกร หรือใช้แผงเซลล์แสงอาทิตย์ราคา $4.8 ล้านล้านเหรียญ (trillion) ติดตั้งบนพื้นที่ 3,000 ตารางไมล์
การผลิตไฮโดรเจนโดยใช้ความร้อน (coolant) จะมีอุณหภูมิประมาณ 900 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูง (high-temperature electrolysis) หรือใช้ความร้อนสูงในการแยกโมเลกุลของน้ำออกจากกัน
รัฐบาลสหรัฐได้ให้การสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจไฮโดรเจน (hydrogen economy) เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2003 ประธานาธิบดี George W. Bush ได้กล่าวปราศรัยว่า เชื้อเพลิงไฮโดรเจนตั้งต้น สามารถทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างสำคัญ เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจนจะเป็นสิ่งที่สนับสนุนมากที่สุดอย่างหนึ่ง ของนวัตกรรมทางเทคโนโลยีในยุคของเรา และถ้าท่านสนใจในเรื่องสิ่งแวดล้อมของเรา และถ้าท่านสนใจที่จะทำในสิ่งที่ถูกต้องต่อประชาชนอเมริกา... เราจงมาช่วยกันสนับสนุน การใช้เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน เป็นหนทางสู่ความก้าวหน้าในศตวรรษที่ 21.. ไฮโดรเจนสามารถผลิตได้ด้วยแหล่งพลังงานท้องถิ่นของเรา  พ.ร.บ.พลังงาน 2003 (นิวเคียร์ทำความร้อน (ของเราเป็นท่อไอเสีย)ที่ผ่านสภาของสหรัฐนั้น ได้มีโครงการสำหรับ (1) วิจัยและพัฒนาการผลิต การขนส่งและการบรรจุเก็บไฮโดรเจน รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีเซลล์เชื้อเพลิงในการขนส่ง (2) วิจัยและพัฒนา ทดลอง และการนำความก้าวหน้าของเทคโนโลยีของยานขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฮโรเจนมาใช้ในเชิงพาณิชย์ และ (3) วิจัยและพัฒนา ก่อสร้าง และเดินเครื่อง เครื่องปฏิกรณ์วิจัยแบบก้าวหน้า
ถอดความและดัดแปลงจาก The Hydrogen Economy and Nuclear Energy
เวบไซต์  http://www.nei.org

(ของเราวิจัยความร้อนจากท่อไอเสีย)
 
จากประวัตเก่าปี 2551
http://www.vcharkarn.com/vblog/38026
http://www.vcharkarn.com/va2/index.php/my/show/83653

(การผลิตกาซไฮโดรเจน) คือการนำความร้อนจากไอเสียเครื่องยนต์
กลับมาใช้เป็นพลังงาน
"แทนที่จะให้พลังงานความร้อนจากไอเสียศูนย์ปล่าว
แล้วยังก่อให้เกิดปัญหาส่งแวดล้อมเป็นพิษ สภาวะโลกร้อน"

จากการทดลอง ด้วยการนำท่อทองแดง ที่มีความสามารถ
ทนความร้อนและนำความร้อนได้ดี มาขดในท่อไอเสีย
ติดกับตัวเครื่องยนต์ และนำน้ำจืด ธรรมดาปล่อยเข้าไปในท่อ
เพื่อให้ความร้อนเผาน้ำให้กลายเป็นไอ จาก(ไอน้ำกลายกาซ 2 ตัว
ผสมกันระหว่าง ไฮโดรเจน2ส่วน+ออกซิเจน1ส่วน)
ที่ความร้อน700องศาC ขึ้นไปในท่อไอเสียเครื่องยนต์(จริงได้ไม่เกิน400องศาC)
แล้วนำกาซที่ได้จากไอน้ำ นี้ไปใช้ในขบวนการสันดาปของเครื่องยนต์
ขบวนการและวิธีการนี้ทำให้ประหยัดน้ำมันไปได้
15% ถึง 30% เลยทีเดียว
ต้นทุนในการผลิตก็ถูกที่สุดในตอนนี้ ในช่วงพลังงานราคาสูง
สนใจรายละเอียดการติดตั้ง รอสักพัก กำลังอยู่ระหว่างการผลิต
และคำนวน ความคุ้มทุน และหาผลเสีย ข้อสรุปต่างๆ ถ้าสำเร็จ
จะเปิดตัวเร็วๆนี้ สนใจสอบเพิ่มเติมได้ที่ เว็บบอร์ดของjtscenter
:ไพศาลคอมพิวเตอร์ หัวข้อกระทู้ที่118